“สะท้อนความจริง – ตั้งคำถามเชิงลึก – แบ่งปันร่วมกัน”
แหล่งรวบรวมความรู้และข้อมูลที่เกี่ยวกับชายหาด
การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นภัยที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติเเละฝีมือของมนุษย์ ประเทศไทยมีชายฝั่ง 3,151 กิโลเมตร เเต่เราไม่เคยรู้เลยว่า ตรงไหนมีความเสี่ยวต่อการกัดเซาะชายฝั่ง บทความนี้จะชวนทุกคนไปทำความเข้าใจ เเผนที่เสี่ยงภัย เเละ การทำเเผนที่เสี่ยงภัยการกัดเซาะชายฝั่งจังหวัดสงขลา ที่ริเริ่มด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน
ภาพเสาเข็มที่ถูกตอกคาบนชายหาดสนกระซิบ เเละ ป้ายชื่อโครงการหาดดวงตะวันที่หลุดพัง คือ หลังฐานว่าสองโครงการกำเเพงกันคลื่นเมืองระยอง ถูกทิ้ง สร้างไม่เสร็จ Beach for life ชวนสำรวจข้ออ้างของกรมโยธาธิการเเละผังเมือง ในการอ้างเผือผลักดันกำเเพงกันคลื่น
การก่อสร้างเขื่อนกันทรายเเละคลื่นใน พอร์ต คานาเวอรัล รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ทำให้ชายหาดเกิดการกัดเซาะชายฝั่งอย่างรุนเเรง เเละเกิดการสะสมตัวของตะกอนทราย ทำให้รัฐฟลอริดา ริเริ่มในการทำเเผนจัดการทรายเพื่อฟื้นฟูชายหาดจากการกัดเซาะชายฝั่ง เเละคงรักษาสมดุลตะกอนทรายชายฝั่ง พวกเขาทำสำเร็จอย่างไร ชวนไปติดตาม
"ดอนตาแพ้ว" ดอนหลังเกาะพยาม ระหว่างเกาะทรายเเดง พื้นที่ขุมทรัพย์ของชาวประมงพื้นบ้านที่มีเนื้อที่กว่าสองพันไร่ เเละกำลังจะถูกทับด้วยท่าเรือน้ำลึกภายใต้โครงการเเลนด์บริดจ์ชุมพร-ระนอง ชวนทำความรู้จัดดอนตาเเพ้วก่อนดอนเเห่งนี้จะเปลี่ยนไป
โครงการท่าเรือน้ำลึกมาบตาพุด ท่าเรือขนาดใหญ่ที่มีการถมทะเล ทำให้เกิดการเปลี่ยนเเปลงของชายฝั่งตลอดเเนวชายหาดสุชาดา หาดเเสงจันทร์ ถึงหาดปากน้ำระยอง ชวนสำรวจผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นจากท่าเรือน้ำลึกมาบตาพุด
ถอดบทเรียนปัญหาสิ่งเเวดล้อมภายใต้การบังคับใช้ พ.ร.บ. EEC ก่อนจะถูกโคลนนิ่งมาเป็น พ.ร.บ. SEC ร่าง พ.ร.บ. SEC ที่ถูกเสนอเข้าไป และคาดว่าร่างของรัฐบาลที่กำลังจะมีมติ ครม. มอบให้ สนข.เป็นผู้เสนอร่าง พ.ร.บ. SEC Beach for life ชวนถอดบทเรียนดูปัญหาสิ่งแวดล้อมเชิงประจักษ์ที่เกิดขึ้นภายใต้การบังคับใช้กฎหมาย EEC ที่เป็นร่างโคลนนิ่งของ พ.ร.บ. SEC
ผลกระทบโครงการท่าเรือน้ำลึกแลนด์บริดจ์ ชุมพร - ระนอง
กำแพงกันคลื่นกลืนชายหาด