เลือกประเภทบทความ
ค้นหาคำสำคัญ
สำนักงบประมาณ เผยเเพร่ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2568 พบว่า มีโครงการจ้างศึกษาป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง จำนวน 30 ล้านของกรมโยธาธิการเเละผังเมือง ที่มีข้อสังเกตว่าอาจเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนทางกฎหมาย
การสร้างเขื่อนกันทรายเเละคลื่น(Jetty) ทำให้สมดุลตะกอนทรายชายฝั่งเสียสมดุล การถ่ายเททรายข้ามปากร่องน้ำ เป็นมาตรการลดผลกระทบสิ่งเเวดล้อม เเต่มาตรการนี่ไปไม่ถึงไหน ชวนดูเหตุผลว่าทำไมเราจัดการตะกอนทรายชายฝั่งไม่ได้
ตลอดห้วงเวลา 10 ปีที่สังคมไทยรับรู้เเละถกเถียงปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง รวมถึงปรากฎการณ์กำเเพงกันคลื่นที่ระบาดอย่างรุนเเรงจนหลายพื้นที่กลายเป็นกระเเสทางสังคมที่ถูกพูดถึง จวบจนการเรียกร้องให้กำเเพงกันคลื่นกลับมาทำเป็นโครงการที่ต้องทำ EIA จนสำเร็จ Beach for life ชวนคุณอภิศักดิ์ ทัศนี มาสนทนาเกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น เเละ สิ่งที่ซ้อนอยู่ภายใต้ภูเขาน้ำแข็ง
จากชายหาด 8 กิโลเมตรของปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ กลายเป็นกำเเพงกันคลื่นไป 5 กิโลเมตรเเล้ว เหลือเพียงชายหาดเเค่ 3 กิโลเมตรสุดท้าย เเละที่นี่การปกป้องชายหาดผืนสุดท้ายได้เริ่มต้นขึ้น "For The Last Beach"
ชายหาดคลองวาฬ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีโครงสร้างป้องกันชายฝั่งหลากหลายชนิด นับตั้งเเต่ปี 2547 เป็นต้นมา เเละ สภาพชายหาดคลองวาฬปัจจุบันไม่เหลือความเป็นชายหาด เต็มไปด้วยเขื่อนต่างๆ ชายหากลายเป็นโคลน ส่งผลกระทบต่อชุมชนเเละการท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก